ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เดินหน้าอัดสินเชื่อหนุนผู้ ประกอบการไมโครเอสเอ็มอี ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่ ปล่อยแคมเปญ “กล้าให้ Fighter” พร้อมฟันฝ่าทุกอุปสรรค เคียงข้างธุรกิจไมโครเอสเอ็มอี ด้วยความเชื่อมั่นและมองเห็ นในศักยภาพ ความเข้มแข็ง รวมถึงหัวใจนักสู้ที่ไม่ยอมแพ้ โดยเน้นความหลากหลายของผลิตภั ณฑ์ ที่พัฒนาบนพื้นฐานความเข้ าใจในผู้ประกอบการไมโครเอสเอ็ มอี ผ่านผลิตภัณฑ์สินเชื่อ “SME กล้าให้” ของธนาคาร และพร้อมสนับสนุนผู้ประกอบการผ่ านสินเชื่อฟื้นฟู ตามมาตรการช่วยเหลื อของธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่ หลากหลายในการเข้าถึงแหล่งเงิ นทุนของผู้ประกอบการไมโครเอสเอ็ มอี ตามแนวคิด “Everyone Matters ใครไม่เห็น เราเห็น”
นาธัส กฤตวรานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริหารธุรกิจไมโครเอสเอ็ มอี ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ผู้ประกอบการไมโครเอสเอ็มอีได้ รับผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 มาอย่างยาวนานตั้งแต่ต้นปี 2563 จนถึงปัจจุบัน ธนาคารไทยเครดิตในฐานะสถาบั นการเงินที่เข้าใจถึงสถานการณ์ ที่ยากลำบากและความจำเป็ นในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของธุ รกิจไมโครเอสเอ็มอี รวมถึงมองเห็นความเป็นนักสู้ ของผู้ประกอบการที่ยังคงยืนหยั ดประคับประคองธุรกิจให้ดำเนินต่ อไปได้ จึงได้ส่งมอบความช่วยเหลือ ทั้งการสนับสนุนสินเชื่ อตามนโยบายของภาครัฐ และการปล่อยสินเชื่อผ่านผลิตภั ณฑ์ SME กล้าให้ เพื่อยืนหยัดเคียงข้างผู้ ประกอบการไมโครเอสเอ็มอี มาตั้งแต่ช่วงแรกของการเกิดวิ กฤตดังกล่าว
“แม้จะเกิดการแพร่ระบาดของเชื้ อไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ขึ้นในปีนี้ แต่ธนาคารยังมีความเชื่อมั่นว่ าผู้ประกอบการจำนวนมากยังไม่ ยอมแพ้ต่ออุปสรรคและมีศั กยภาพเพียงพอที่จะประคั บประคองธุรกิจให้ดำเนินต่อไปได้ ธนาคารจึงได้รวบรวมข้อมูลและศึ กษาความต้องการของผู้ ประกอบการไมโครเอสเอ็มอี และนำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์สินเชื่ อที่ตรงกับความต้องการในตลาดให้ มากที่สุด โดยเน้นความหลากหลายและยืดหยุ่น เพื่อเป็นแรงสนับสนุนให้ผู้ ประกอบการไมโครเอสเอ็มอี สามารถบริหารจัดการเงินทุนให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และประคับประคองธุรกิจให้ผ่ านสถานการณ์นี้ไปได้” นายนาธัสกล่าว
สำหรับผู้ประกอบการที่ต้ องการเงินทุนหมุนเวียนเพิ่ มสภาพคล่อง และใช้ในการฟื้นฟูธุรกิจ ธนาคารแนะนำสินเชื่อ SME กล้าให้ ที่ในปีนี้ได้เพิ่มวงเงินสูงสุ ดเป็น 30 ล้านบาท สำหรับลูกค้าที่มีหลักประกัน หรือสำหรับลูกค้าที่ไม่มีหลั กประกัน ธนาคารเพิ่มวงเงินสูงสุดเป็น 10 ล้านบาท และรับเงินไวภายใน 5 วันทำการธนาคาร หลังจากเอกสารครบ เพื่อให้ลูกค้านำไปใช้เสริ มสภาพคล่องให้ธุรกิจได้ทันต่ อความต้องการ
ในกรณีที่ลูกค้ามีสภาพคล่องเพี ยงพออยู่แล้ว แต่ต้องการลดภาระค่าใช้จ่ ายดอกเบี้ยในการดำเนินการ ธนาคารแนะนำสินเชื่อ SME กล้าให้รีไฟแนนซ์ ที่จะช่วยลดภาระดอกเบี้ยที่ต้ องจ่ายในแต่ละเดือน โดยรับดอกเบี้ย 0% นาน 3 เดือน จากนั้นเดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 12 รับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงตามสั ญญารีไฟแนนซ์ ลบด้วย 1% ต่อปี เดือนที่ 13 เป็นต้นไป รับอัตราดอกเบี้ย 6.75% – 12% ต่อปี
นอกจากนี้ ธนาคารยังพร้อมสนับสนุนการปล่ อยสินเชื่อฟื้นฟู หรือสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ (Soft Loan) ตามมาตรการของธนาคารแห่ งประเทศไทย โดยลูกค้าปัจจุบันสามารถขอสิ นเชื่อได้สูงสุด 30% ของวงเงินสินเชื่อเดิม สำหรับลูกค้าใหม่ที่ไม่มีวงเงิ นสินเชื่อกับสถาบันการเงินทุ กแห่ง สามารถขอสินเชื่อได้สูงสุด 20 ล้านบาท (นับรวมวงเงินจากทุกสถาบั นการเงิน) ซึ่งลูกค้าทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับอัตราดอกเบี้ยพิ เศษ 2 ปีแรกเพียง 2% ต่อปี และได้รับการยกเว้นดอกเบี้ยในช่ วง 6 เดือนแรก ตามมาตรการของรัฐ
สำหรับการสนับสนุนด้านเงินทุนผ่ านสินเชื่อ SME กล้าให้ ที่ธนาคารดำเนินการมาอย่างต่ อเนื่อง นับตั้งแต่เริ่มมีการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 นั้น ในปี 2563 ที่ผ่านมา ธนาคารได้อนุมัติสินเชื่อให้กั บผู้ประกอบการไมโครเอสเอ็มอี ไปถึง 20,000 ล้านบาท โดยสามารถช่วยเสริมสภาพคล่องให้ แก่ผู้ประกอบการกว่า 5,000 ราย และในไตรมาสแรกของปี 2564 ธนาคารยังคงให้การสนับสนุนสิ นเชื่อกับผู้ประกอบการอย่างต่ อเนื่อง โดยได้อนุมัติวงเงินสินเขื่อ SME กล้าให้ ไปแล้วเป็นจำนวนกว่า 10,000 ล้านบาท ซึ่งธนาคารจะยังคงให้การสนับสนุ นและยืนหยัดสู้อยู่เคียงข้างผู้ ประกอบการไมโครเอสเอ็มอีให้ สามารถข้ามผ่านวิกฤตครั้งนี้ ไปด้วยกัน
ผู้ประกอบการไมโครเอสเอ็มอีที่