กสิกรไทย โดย K WEALTH แนะวิธียื่นภาษีสำหรับนักลงทุ
วีระพล บดีรัฐ ผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายพัฒนาการให้คำปรึกษาลูกค้า และ K WEALTH GURU ธนาคารกสิกรไทย เปิดเผยว่า ภาษีคริปโทฯ ยังคงเป็นประเด็นที่นักลงทุนให้
- ยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% เนื่องจากปัจจุบันการซื้อขายคริ
ปโทผ่าน Exchange Platform ยังไม่สามารถระบุตัวตนของผู้รั บเงิน และไม่ทราบจำนวนเงินได้ที่ต้ องหัก จึงเป็นเรื่องยากที่ จะตรวจสอบความถูกต้อง และหักภาษีได้ถูกฝาถูกตัว ทำให้ไม่จำเป็นต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ - สามารถนำผลขาดทุนมาหั
กลบกำไรในปีภาษีเดียวกันได้ เพื่อใช้คิดเงินได้ ในการคำนวณภาษี จากแต่เดิมที่ให้คิ ดเฉพาะรายการที่ได้กำไร ซึ่งได้รับเสียงวิจารณ์อย่ างมากถึงความไม่เป็นธรรมสำหรั บนักลงทุน - วิธีการคิดต้นทุน สามารถทำได้ 2 วิธี คือ 1) คิดด้วยวิธี “เข้าก่อน-ออกก่อน” (First in, First out หรือที่เรียกว่า FIFO) และ 2) วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average Cost) ยกตัวอย่างเช่น วันที่ 1 ก.พ. ซื้อคริปโท A จำนวน 1 เหรียญในราคา 10,000 บาท/เหรียญคริปโท ต่อมาในวันที่ 3 ก.พ. ซื้อเพิ่มอีก 1 เหรียญในราคา 12,000 บาท ถ้าใช้วิธี “เข้าก่อน-ออกก่อน” (FIFO) ในการคิดต้นทุนเมื่อจะขายออก 1 เหรียญ จะใช้ราคาของเหรียญที่ซื้อเข้
ามาก่อน นั่นคือ 10,000 บาท แต่ถ้าใช้วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ ยเคลื่อนที่ ทั้งสองเหรียญจะมีต้นทุนเฉลี่ย 11,000 บาท คือนำราคาซื้อทั้งหมดมารวมกั นหารด้วยจำนวนเหรียญ - การวัดมูลค่าสินทรัพย์ดิจิทัล ให้วัด ณ เวลาที่ได้มา หรือราคาถัวเฉลี่ย
นอกจาก 4 ประเด็นนี้ กรมสรรพากรได้พูดถึงความเป็
ทั้งนี้ แนวปฏิบัติเรื่องการยกเว้นภาษี
ผู้สนใจสามารถติดตามประเด็นต่
Fun Fact มาดูแนวทางการจัดเก็บภาษีคริ
- สวิตเซอร์แลนด์และโปรตุเกส ยกเว้นภาษีคริปโทฯ ส่วนฮ่องกงและสิงคโปร์ ยกเว้นให้ในกรณีที่ลงทุนระยะยาว ในขณะที่สหรัฐอเมริกาจัดเก็
บภาษีอัตราเดียวกับหลักทรัพย์ ทางการเงินอื่น ๆ อย่างหุ้น และสามารถนำผลขาดทุนมาหักลบกั บรายได้ที่ใช้คำนวณภาษี ในกรณีที่ไม่มีเงินได้ จากการขายหลักทรัพย์
อ้างอิง: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 19 ม.ค. 65